วันเสาร์ที่ 12 กันยายน พ.ศ. 2558

Recorded Diary 5, 08/09/2558

Recorded Diary 5, 08/09/2558

ความรู้ที่ได้รับ (Knowledge)

ทบทวนความรู้ที่ได้จากใบความรู้ในสัปดาห์ที่แล้ว ที่ทำงานเป็๋นคู่ เช่น เรื่อง สัตว์ (animal) , น้ำ (water) ขั้นอนุรักษ์ คือ ขั้นที่เด็กตอบตามที่เห็น

อาจารย์แจกกระดาษให้ 1 แผ่น
   ให้ออกแบบสื่อที่ใช้สอนเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ มา 1 สื่อ


เกี่ยวข้องกับวิทยาศาตร์อย่างไร?  คือ การกระทำต่อวัตถุ วัตุเจอกับอากาศ แล้วทำให้เกิดเสียง

สรุป
           การสอนวิทยาศาตร์สำหรับเด็ก ต้องมีความรู้เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์โดยการหาความรู้ โดยกำหนดหน่วยที่เราจะสอนที่สัมพันธ์ดกี่ยวกับกายภาพ เรื่่อง แสง เงา อากาศ สี ลม เลือกมาทำของเล่นโดยผ่านกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์


การนำไปใช้ (Apply)
- ในการสอนวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กโดยผ่านสื่อการเล่นคือการผ่านกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์ ควรกำหนดหน่วยนั่นๆและควรมีความรู้ที่เพียงพอ ควรให้เด็กลงมือปฏิบัติจริงจะทำให้เด้กเกิดการเรียนรู้มากยิ่งขึ้น

ทักษะ (Skill)
- อาจารย์ให้นักศึกษาลงมือปฏิบัติจริงและช่วยกันแสดงความคิดเห็นในสื่อของเล่นว่าเกี่ยวข้องกับวิทยาศาสตร์อย่างไร?

วิธีการสอน (How to teach)
- ให้นักศึกษาออกแบบสื่อโดยอย่างอิสระ
- ให้นักศึกษาร่วมกันอธิบายความเกี่ยวข้องอย่างไรกับวิทยาศาตร์
- อาจารย์คอยให้ความรู้เพิ่มเติม

ประเมินสภาพห้องเรียน (Classroom)
- ห้องเรียนสะอาด เย็นสบาย มีอุปกรณ์ครบถ้วน

ประเมินอาจารย์ (Teacher)
- อาจารย์แต่งกายเรียบร้อย มีการเปิดโอกาสให้เด็กได้คิดและใด้แสดงความสามารถออกมา และอาจารย์ยังคอยช่วยสอนและให้ความรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับงานที่ทำออกมาแต่ละสื่อ


ประเมินเพื่อน (Classmates)
- เพื่อนมาเรียนตรงต่อเวลา และให้ความร่วมมือเป็นอย่างดีในระหว่างการเรียน

ประเมินตนเอง (Self)
- แต่งกายถูกระเบียบ มาเรียนมาตรงเวลา ต้องหาความรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์มากกว่านี้กิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์ก็เช่นกัน




ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น