วันจันทร์ที่ 31 สิงหาคม พ.ศ. 2558

Recorded Diary 3,25/08/58

Recorded  Diary 3,25/08/58

ความรู้ที่ได้รับ (Knowledge)
 อาจารย์วิเคราะห์และเสนอแนะวิธีการทำบล็อคและให้เทคนิคต่างๆ

อาจารย์พานักศึกษาเข้าห้องสมุดเพื่อค้นคว้าหนังสื่อที่เกี่ยวกับวิทยาศาตร์สำหรับเด็กปฐมวัย


หนังสือ เรื่อง กิจกรรมวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กการสอนแบบบูรณาการ
 Science Experience for the Early Childhood An Integrated Approach

บทที่ 8 เรื่อง น้ำ
 คู้กับ น.ส.จรีพร เฉลิมจาน



      น้ำสิ่งมีชีวิตทุกชนิดต้องการน้ำเพื่อให้มีชีวิตอยู่ได้ โลกของเราอยู่ไม่ได้ถ้าขาดน้ำ กิจกรรมนี้จะให้ประสบการณ์ที่เกี่ยวกับความคิดรวบยอดต่อไปนี้

 - น้ำมีน้ำหนัก
- น้ำหนักของน้ำและแรงดันขึ้นของน้ำทำให้สิ่งต่างๆลอยได้
- น้ำเข้าไปอยู่ในอากาศ
- น้ำเปลี่ยนสถานะกลับไปกลับมาได้
- น้ำเป็นตัวทำลายของสารหลายชนิด
- น้ำเกาะตัวกัน
- น้ำเกาะกับวัสดุอื่น
- น้ำแทรกเข้าไปอยู่ในวัสดุอื่น

 ความคิดรวบยอด : น้ำมีน้ำหนัก
1.เราจะรู้สึกได้อย่างไรว่าน้ำมีน้ำหนัก
จุดประสงค์การเรียนรู้ : เพื่อให้นักเรียนประสบด้วยตนเองว่าน้ำมีน้ำหนัก


กิจกรรม
- ให้ถือถังเปล่าแล้วให้คนอื่นเทน้ำใส่ว่าหนักไหมจนถือไม่ไหวประสบด้วยตนเองเช่นนี้ทำให้นักเรียนเข้าใจเรื่องของน้ำหนักของน้ำโดยไม่ยาก
   

กิจกรรมศิลปะ
  การวาดภาพด้วยก้อนน้ำแข็ง  - วิธีเดียวกับระบายสีด้วยนิ้วบนกระดาษผิวมัน แต่ไม่ต้องทำให้กระดาษเปียกทำเวลาระบายสีด้วยนิ้ว

กิจกรรมการเล่น
 ทำลูกโป่งเล่น
         1.ซื้อน้ำยาที่เขาผสมไว้แล้ว พร้อมทั้งก้านพลาสติกและห่วงกลมๆตรงปลายไว้เป่า หมดเติมด้วยน้ำเปล่า 1 ถ้วยผสมน้ำ และ เปลี่ยนขนาดหลอดจุ่มและเป่าให้เป็นลูกโป่งลอยในอากาศ 


แรงดึงดูดของน้ำ
 ใช้กิจกรรมนี้เพื่อให้นักเรียนเข้าใจความคิดรวบยอดของโมเลกุลของแรงดึงดูเชื่อมเข้าหากัน จากเล็กที่สุดเท่่าที่จะเล็กได้

การเชื่อมโยงความคิดรวบยอด
     ความเชื่อมโยงบางอย่างระหว่างอากาศกับน้ำอาจจะเห็นได้เมื่อมีกิจกรรมเลี้ยงปลาและปลูกพืชแต่บางอย่างอาจจะต้องอาศัยการทดลองอย่างง่ายๆ

1. นักเรียนเห็นว่ามีอากาศอยู่ในน้ำได้เมื่อดูน้ำในขวดโหลที่ปิดฝาและวางไว้ในห้องเรียน จะมีฟองอากาศเล็กๆ อธิบายได้ว่าปลาต้องการอากาศเพื่อให้มีชีวิตรอดอยู่ได้ และในน้ำมีอากาศ

2.การที่พืชต้องพึ่งพาน้ำจะเห็นได้ค่อนข้างชัดว่า พืชที่มีใบบางๆจะเฉา เนื่องจากขาดน้ำมาหลายสัปดาห์แต่พอรดน้ำใบจะดีขึ้นในเพียงเวลาไม่กี่ชั่วโมง


ทักษะ (Skill)
- การสืบค้นข้อมูลจากห้องสมุด ที่เกี่ยวกับวิชาวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
- นำความรู้ที่ได้มาเป็นแนวทางในการสอนได้

การนำไปใช้ (Apply)
- การนำความรู้ที่ได้จากการศึกษาในหนังสือ เรื่อง กิจกรรมเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์สำหรับเด็ก การสอนแบบบูรณาการเพื่อใช้เป็นแนวทางในการจัดการเรียนการสอนให้แก่เด็กในอนาคต การบูรณาการวิทยาศาสตร์เกี่ยวกับอื่นๆได้เกิดการเรียนรู้มากขึ้น

เทคนิค 
- อาจารย์เปิดโอกาสให้ค้นหาหนังสือและสรุปบทเรียนที่สนใจด้วนตนเองโดยมีอาจารย์คอยให้คำปรึกษา

ประเมินสภาพห้องเรียน (Classroom)
- บรรยากาศห้องสมุดเงียบสงบเหมาะสมแก่การค้นหาความรู้
- โต๊ะและเก้าอี้อาจไม่เพียงพอสำหรับคนที่มาใช้บริการ เกิน 20 คนขึ้นไปต่อชั้นนั่นๆ


ประเมินอาจารย์ (Teacher)
- อาจารย์มาสอนตรงต่อเวลา แต่งกายสุภาพเรียบร้อย และให้คำปรึกษาเกี่ยวกับเรื่องต่างๆที่นักศึกษามีข้อสงสัยเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ที่เรียนอยู่

ประเมินเพื่อน (Classmate)
- เพื่อนๆทุกคนให้ความสนใจและตั้งใจในการค้นหาข้อมูลในห้องสมุด พร้อมทั้งตั้งใจฟังและทำงานกันเป้นอย่างดี

ประเมินตนเอง (Self)
- มาเรียนตรงต่อเวลา แต่งกายเรียบร้อย และตั้งใจฟังเวลาอาจารย์สอนและมอบหมายงานอย่างตั้งใจ 




           


วันศุกร์ที่ 28 สิงหาคม พ.ศ. 2558

Science Research About Early Childhood (วิจัย)

Science Research About Early Childhood (วิจัย)


Heading (ชื่อเรื่อง) : ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เรื่องสีจากธรรมชาติที่มีต่อทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัย

By (โดย) : ยุพาภรณ์ ชูสาย   From (จาก) : มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ


 Related (สรุป)
     
           การใช้แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เรื่องสีจากธรรมชาติ เด็กปฐมวัยกลุ่มตัวอย่างมีทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์อยู่ในระดับปานกลาง ในด้านการส่งเสริมสนันสนุนการอยากรู้อยากเห็นของเด็กโดยผ่านประสาทสัมผัสและให้เด็กได้ลงมือปฏิบัติจริง เนื่องจากการทดลองทำเป็นสัปดาห์เด็กสามารถอธิบายการเกิดสีที่ได้จากผัก สามารถบอกเพื่อนได้ เกิดจากอะไรได้

ARTICLE (บทความ)

บทความ (Article)



ชื่อเรื่อง (Heading)  :

 เรียนรู้วิทยาศาสตร์ผ่านนิทานของเด็กปฐมวัย “เทคนิคการเลือกและเล่านิทานให้ลูกรัก” 

โดย (By): กรุงเทพฯ -- 9 มิ.ย.-- สสวท.



สรุป (Related) :  นิทาน เป็นสื่อการเรียนรู้ที่หาง่าย นิทานเป็นสื่อที่ดี ช่วยให้เด็กๆ เรียนรู้ได้หลากหลาย ที่เห็นชัดเจน คือ เรื่องของภาษา คำพูด เสียง ยิ่งนิทานที่มีคำซ้ำ ๆ เด็กจะฟังและเลียนแบบคำได้และยังมีความคิดสร้างสรรค์ มีวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และความรู้ด้านต่าง ๆสอดแทรกผ่านวิธีคิดที่เป็นเหตุผล การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่บูรณาการวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์โดยใช้นิทานเป็นสื่อในการเรียนรู้ เด็กปฐมวัยจะได้เรียนรู้จักเชื่อมโยงจินตนาการจากนิทานสู่การสร้างสรรค์ชิ้นงานโดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์



From : THaiPR.Net (Thailand Press Release )

อ่านต่อได้ที่ : http://www.ryt9.com/s/prg/1167451

วันจันทร์ที่ 24 สิงหาคม พ.ศ. 2558

Recorded Diary 2,18/08/58

Recorded Diary 2,18/08/58


ความรู้ที่ได้รับ (Knowledge)

    พัฒนาการทางสติปัญญา (Cognitive Development) 
หมายถึง การเปลี่ยนแปลงด้านความสามารถในเรื่องภาษา (Language) ความคิด (Thinking)
เป็นไปตามลำดับขั้น

พัฒนาขึ้นมาจากการมีปฏิสัมพันธ์ (Interaction) กับ สิ่งแวดล้อม (Environment)

- ทำให้เด็กรู้จักตนเอง (self)
- การปฏิสัมพันธ์ระหว่างบุคลกับสิ่งแวดล้อม (Environment) 
ต่อเนื่องตลอดเวลาเพื่อเกิดสมดุล (Equilibrium)
- การปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา
เพื่อให้เกิดความสมดุล (Equilibrium)   ระหว่างบุคคลกับสิ่งแวดล้อม  (Environment) 

กระบวนการปฏิสัมพันธ์ (Interaction)

- กระบวนการดูดซึม (Assimilation)
   คือ เมื่อมนุษย์ (Human) เกิดการปฏิสัมพันธ์  (Interaction)กับ
สิ่งแวดล้อม (Environment) เกิดประสบการณ์ใหม่ (New Experince)

- กระบวนการปรับโครงสร้าง (Accommodation)
   คือ เปลี่ยนความคิดเดิม (Old Thinking) ให้สอดคล้องกับความคิดใหม่ (New Thinking)

สรุป สติปัญญาจะปรับแนวคิดวิธีคิดต่างๆเพื่อให้เกิดความสมดุลให้อยู่รอดได้

 ทฤษฎีพัฒนาการด้านการรู้คิดของเพียเจต์

ขั้นที่ 1 ประสาทสัมผัสและการเคลื่อนไหว (Sensorimotor Stage) 
             แรกเกิด -2 ปี ระยะแรกปฏิกริยาตอบสนอง

ขั้นที่ 2 คิดอย่างมีเหตุผล (Preoperational Stage) 2 - 7ปี
         
         ระยะที่ 1 ขั้นก่อนความคิดรวบยอด 2 - 4 ปี เริ่มใช้ภาษาและเข้าใจความหมายสั้นๆ
         ระยะที่ 2 ขั้นคิดได้เองไม่รู้เหตผล 4 - 7 ปี เ
           ริ่มมีปฏิกริยาต่อสิ่งแวดล้อม ( Environment) มากขึ้น
         ระยะที่ 3 ขั้นปฏิบัติการคิดแบบนามปธรรม 7 - 11 ปี คิดมีเหตุผลมากขึ้น

เทคนิคการสอน (Teaching Techiques)
1. ระดมความคิด
2. สังเคราะห์เนื้อหาที่เรียนเหลือประโยคเดียว
3. ใช้คำถามเพื่อระดมความคิด

การนำไปใช้ (Apply)
1. รู้จักทฤษฎีการพัฒนาด้สนการรู้คิด

ทักษะ (Skill)
1. ระดมความคิด
2. สังเคราะห์เนื้อหาที่เรียนเหลือประโยคเดียว

วิธีการสอน (How to teach)
1.ใช้ Power point ในการบรรยายสอน
2. ระดมความคิดโดยการสรุป
3. ยกกรณีตัวอย่าง

ประเมินสภาพห้องเรียน (Classroom)
 - ห้องเรียนมีสภาพเหมาะสมแก่การเรียน
- อุปกรณ์สื่อสารใช้งานได้ดีเยี่ยม
- มีอินเตอร์เน็ตใช้งานได้

ประเมินอาจารย์ (Teacher)
 - อาจารย์เข้าสอนตรงเวลาและเตรียมการสอนมาอย่างดี

ประเมินเพื่อน (Classmates)
- ตั้งใจเรียนและให้ความร่วมมือในการตอบคำถาม

ประเมินตนเอง (Self)
แต่งการถูกระเบียบ ตั้งใจเรียน เข้าเรียนตรงเวลา


Recorded Diary 1, 11/08/58

Recorded Diary 1, 11/08/58

- บอกทิศทางความต้องการของผู้สอนและผู้เรียน
- แจงขอบข่ายของสาระที่ต้องเรียน
- การใช้เครื่องมือในการประเมิน เพิ่มเติมการใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการเรียนรู้ในรายวิชานี้

ความรู้ที่ได้รับ (Knowledge)
      การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย 
Science Experiences Managemant for Early Childhood

การจัดประสบการณ์ (Experience) 
        - หลักการการจัดประสบการณ์
        - เทคนิคการจัดประสบการณ์
        - กระบวนการการจัดประสบการณ์
        - ทฤษฎีการจัดประสบการณ์
        - สื่อและสภาพแวดล้อมสนับสนุนการจัดประสบการณ์
        - การประเมินผลการจัดประสบการณ์
    วิทยาศาสตร์ (Science)
                
    - ทักษะ (Skill)    - ทักษะการจำแนกประเภท
                             - ทักษะการสื่อความหมาย
                             - ทักษะลงความเห็นจากข้อมูล
                             - ทักษะการหาสัมพันธ์ระหว่างสเปสกับสเปสเวลา
                             - ทักษะการคำนวณ
                             - ทักษะการสังเกต
  - สาระสำคัญ (Related) - เรื่องราวเกี่ยวกับเด็ก
                                    - เรื่องราวเกี่ยวกับบุคคลและสถานที่
                                    - ธรรมชาติรอบตัว 
                                    - สิ่งต่างๆรอบตัวเด็ก

   เด็กปฐมวัย (Early Childhood)
  
      - พัฒนาการ (Development) 
              - สติปัญญา (Intelligence)
              - ภาษา (Language)
              - การคิด (Thinking)
              - สร้างสรรค์ (Create)
              - เชิงเหตุ (Causal)
              - คณิตศาสตร์ (Mathematics)
              - วิทยาศาสตร์ (Science)
      - วิธีการเรียนรู้ (Learning)     
              - การใช้ประสาทสัมผัส ทั้ง 5 กระทำกับวัตถุ 
                          ( Five Sence)
                ตา (See) หู (Listen) จมูก (Smell)
                   ปาก (Taste) สัมผัส (Touch)

เทคนิคการสอน (Teaching Techiques)
1. การใช้คำถามเพื่อแลกเปลี่ยนความเห็น
2. บรรยาย โดยใช้ Powerpoint

การนำไปใช้ (Apply)
1. นำไปใช้ในการเขียนแผนการจัดประสบการณ์
2. นำไปใช้ในการออกแบบสื่อการจัดประสบการณ์
3. นำไปใช้ในการวางแผนเพื่อทำการสอน

ทักษะ (Skill)
1. การใช้คำถามและเปลี่ยนความคิดเห็น

วิธีการสอน (How to teach)
1.ใช้ Mapping ในการบรรยายสอน
2.ใช้คำถามสอดแทรกเพื่อกระตุ้นความคิด

ประเมินสภาพห้องเรียน (Classroom)
 - ห้องเรียนมีสภาพเหมาะสมแก่การเรียน

ประเมินอาจารย์ (Teacher)
 - อาจารย์เข้าสอนตรงเวลาและเตรียมการสอนมาอย่างดี

ประเมินเพื่อน (Classmates)
- ตั้งใจเรียนและให้ความร่วมมือในการตอบคำถาม

ประเมินตนเอง (Self)
แต่งการถูกระเบียบ ตั้งใจเรียน เข้าเรียนตรงเวลา